瞑想について ความรู้เกี่ยวกับสมาธิ

私たちは、現代社会を行き抜くためには、様々なストレスを心に蓄積していきます。これが、体と心を蝕む原因となっていくのです。私たちは、自分の体の汚れは、毎日シャワーを浴び清潔に保ちますが、心の汚れをどのように落とせば良いのでしょう。 濁った状態の水が入っているコープがあるとします。この濁った汚い水を、澄んだ水にするために、一番簡単な方法は、ただ放って置くことです。

これと同様に、心の汚れも、ただ中心に留め静止させれば、自然に澄み切った綺麗な状態になります。 このように、瞑想とは、心の洗濯とも言えるものです。毎日、瞑想を励行し、この心の汚れを洗い流し、本来の輝く心を取り戻し、心身ともに健康となりましょう。

瞑想法

心身の整え方基本姿勢

瞑想の基本的な姿勢は、胡坐をかいて座り右足を左足ふくらはぎの上に置き、右手のひらの上に、左手のひらを乗せ、軽く目を瞑る姿勢です。背筋は、真っ直ぐに伸ばしてください。 しかし、これに囚われず、自分が楽な姿勢で座って体が緊張しないように楽にすることです。例えどの一部でも体が緊張すると言う事は、間違った方法であることへの訴えかけです。
◎これでも構いません
座る際はクッションを使っても、使わなくてもかまいません。自分にとって座り心地がよい体勢を整えてください。座っている姿勢が辛くなれば、楽にしましょう。無理をせず足なども組み替えてください。瞑想は決して我慢比べや、人との競争ではありません。

目の瞑り方

目を楽に瞑りましょう。眠りに入る前の状態のように、軽く目を瞑ります。自然に優しく、力んで瞑らないようにして、静かに目を瞑ります。

緊張の開放

全身をチェックして、体のどの部分も、力んでいないか、緊張しすぎたりしていないか調べてみましょう。笑顔でゆったりと坐ってください。そして、体全体の筋肉をリラックスさせましょう。頭の部分から、ひたい、まゆ、まぶた、目の周りの筋肉、顔の筋肉、首、両肩の筋肉、両腕から指の先まで、胸周りの筋肉、両足の付根から爪先まで、リラックスします。

呼吸の調え方

2-3回、深呼吸をしてみましょう。息を吸い込むとき、体の全ての細胞に幸福や喜びを吸収するように。そして、息を吐き出すときは、悩みやマイナス感情を放つように。ゆっくり、自分の心を日常の仕事、友人、家族、勉強、物事などから自由に開放しましょう。

瞑想の開始

1.瞑想対象の思い浮かべ方

まず、体の内部がないと想像してみます。これから、身体の中心に心を留め静止させます。中心は、お腹の真ん中、臍上約2本の指幅にあります。次に、身体の中心即ち、お腹の真ん中に心を統一し集中できるように、心があちらこちらへ行かないように、これから瞑想の対象をゆっくり思い浮かべてみましょう。
瞑想の対象として、水晶球を思い浮かべてみます。どんなサイズでも結構です。その水晶球は、正午の太陽のように明るく、万月の月光のように涼しいものだ、と想像しましょう。心を中心に留め静止させ、イメージ対象を思い浮かべ続けます。

☆これが大切です

身体の中心に心を留める感覚とは、空から落ちた羽根が水面に接するように、軽く軟らかい感じです。羽根が水面に接するときの柔らかさをイメージして、同じように身体の中心に心を留めてください。はっきり、見えなくても構いません。どのように見えても満足してください。

◎これでも構いません
しかし、初心者にとっては、身体の中心がどこにあるのか迷うことかもしれませんが、意識しすぎないでください。ただ、ゆったり心をお腹の真ん中に留め、体や心のリラックス状態を保ちつづけましょう。

2.心で言葉を唱え方

もし、心が他の事を考えてしまったら、もう一度心を中心に留めながら、言葉も唱えてみましょう。唱える言葉は「サンマー・アラハン」です。これは、心を純粋にするという意味です。この言葉を軽く柔らかく心から湧き上がってくるように、静かに心で唱えます。そして、その声は身体の中心からでてきているように想像してください。このように、「サンマー・アラハン」を唱えながら、水晶球も思い浮かべましょう。
☆これが大切です
心が落ち着くと、自然に「サンマー・アラハン」という言葉を唱えるようになります。しばらくすると、この言葉を唱えることを忘れるか、あるいは唱えたくないと感じてきます。ただ、心を水晶球に留めたいと感じます。このように感じたら、言葉を唱えなくても構いません。心を水晶球にゆっくり、優しく留めてください。
◎これでも構いません
「サンマー・アラハン」以外の言葉、例えば、リラックス、幸せ、のんびり等、自分が心地よくなる言葉なら構いません。

3.瞑想が終わる前に

最後に、自分が得た内面の平和と幸福を、すべての人種、国籍、信仰、信条に関係なく、生きとし生けるもの、すべてに広げましょう。 それらが私の国にいても、どこにいても。同じ人種でも他の人種でも。私のことを好きでも嫌いでも。私を家族のように、友人のように、敵のように思っていても。 瞑想からの純粋なこの思いやりが、彼らの心にあるすべての怒り、悲しみ、苦悩を取り除きますように。苦しんでいるなら、苦悩から解き放たれますように、幸せなものはより幸せになれますように。すべての人種、国籍、信仰の人々が平和に、寛容さと思いやりの中で共存できますように。 このような思いを実現するために、あなたも、今日から、瞑想を始めてみませんか。

เมื่อกล่าวถึงสมาธิ(Meditation) ต้องเข้าใจในเบื้องต้นว่า สมาธิมิใช่เรื่องของฤๅษีชีไพร หรือมิใช่เป็นเรื่องที่ประพฤติปฏิบัติได้เฉพาะผู้ที่เป็นนักบวชเท่านั้น แต่สมาธิเป็นเรื่องของการฝึกฝนอบรมจิตใจ และเป็นการพัฒนาจิตใจให้มีความมั่นคง ตั้งมั่น และทำให้มีคุณภาพทางจิตใจที่ดีขึ้น ซึ่งในทางพระพุทธศาสนานั้น สมาธิสามารถประพฤติปฏิบัติได้ ทั้งเพื่อประโยชน์ต่อความมีชีวิตที่อยู่เป็นสุขในเพศภาวะของผู้ที่ยังครองเรือน และยังเป็นการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความหลุดพ้นสำหรับผู้ที่เป็นนักบวชอีกด้วย
แต่อย่างไรก็ตาม สมาธิ ถือเป็นเรื่องสากล กล่าวคือ มิใช่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเท่านั้นที่จะสามารถปฏิบัติสมาธิได้ แม้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นก็สามารถปฏิบัติสมาธิได้เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ การฝึกสมาธิจะเน้นให้ความสำคัญของการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นผลด้วยตนเองแล้ว หากมีข้อสงสัยในเชิงปฏิบัติ ก็สามารถที่จะสอบถามจากผู้รู้ผู้ชำนาญได้อย่างตรงเป้าหมาย หรือตรงต่อประสบการณ์ที่ตนเองได้ปฏิบัติมา และถึงแม้จะมีการอธิบายรายละเอียดความรู้ของสมาธิในเชิงทฤษฎี แต่กระนั้นก็มิอาจที่จะละเลยสมาธิในเชิงปฏิบัติได้

ความหมายของสมาธิ

การอธิบายความหมายของสมาธิ สามารถอธิบายได้ทั้งในเชิงลักษณะผลของสมาธิที่เกิดขึ้น และอธิบายในลักษณะในเชิงการปฏิบัติ เช่น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตประจำวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ

ความหมายในเชิงลักษณะผลของสมาธิ

สมาธิ คือ อาการที่ใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว อย่างต่อเนื่อง หรือ อาการที่ใจหยุดนิ่งแน่วแน่ ไม่ซัดส่ายไปมา เป็นอาการที่ใจสงบรวมเป็นหนึ่งแน่วแน่ มีแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใส สว่างไสวผุดขึ้นในใจ จนกระทั่งสามารถเห็นความบริสุทธิ์นั้นด้วยใจตนเอง อันจะก่อให้เกิดทั้งกำลังใจ กำลังขวัญ กำลังปัญญา และความสุขแก่ผู้ปฏิบัติในเวลาเดียวกัน1

ความหมายในเชิงลักษณะการปฎิบัติสมาธิ

กล่าวอีกนัยหนึ่งในเชิงลักษณะการปฏิบัติ สมาธิ แปลว่า ความตั้งมั่นของจิต หรือภาวะที่จิตแน่วแน่ต่อสิ่งที่กำหนด หรือการที่จิตกำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่าน

drops-of-water-578897_1920ความหมายในเชิงเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย

พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ ได้ให้ความหมายของการทำสมาธิภาวนาในเชิงของการปฏิบัติว่า การทำสมาธิก็คือการทำใจของเราให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา กล่าวคือ การดึงใจกลับเข้ามาสู่ภายใน อยู่กับเนื้อกับตัวของเรา ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจที่ซัดส่ายไปในอารมณ์ต่างๆ ในความคิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องครอบครัว ธุรกิจการงาน การศึกษาเล่าเรียน เรื่องสนุกสนานเฮฮา หรือเรื่องอะไรที่นอกเหนือจากนี้ก็ตาม ดึงกลับมาไว้อยู่กับตัวของเราให้มามีอารมณ์เดียว ใจเดียว ซึ่งท่านได้อ้างอิงถึงพระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ซึ่งได้เคยอธิบายเรื่องการทำสมาธิว่า คือการทำให้ความเห็น ความจำ ความคิด ความรู้ รวมหยุดเป็นจุดเดียว หรือให้รวมหยุดเป็นจุดเดียวในอารมณ์ที่สบายที่กลางกายของเรา ซึ่งวิธีที่จะทำให้เกิดสมาธิเพื่อการเข้าถึงธรรมกายก็คือฝึกใจให้หยุดให้ นิ่งอยู่ภายใน2
1พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทัตตชีโว), [พ.ศ.2545] พระแท้, ปทุมธานี, หน้า 210.
พระราชภาวนาวิสุทธิ์, [พ.ศ.2537] บทพระธรรมเทศนา วันอาทิตย์ต้นเดือน,( 6 พฤศจิกายน 2537) ปทุมธานี.