มูลนิธิธรรมกายตั้งโรงทานช่วยเนปาล

NP-02aเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ประมาณ 10.00 น. ตามเวลาประเทศเนปาล พระถาวร ถาวโร พร้อมอาสาสมัครจากมูลนิธิธรรมกาย โดยดำริพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้จัดตั้งโรงทานผลิตอาหารสด เลี้ยงผู้ประสบภัยจากเหตุแผ่นดินไหวที่หมู่บ้านจาปาเกา (Japakaw) เมืองลลิตปุร์ (Lalitpur) มีผู้มารับอาหารประมาณ 300 คน จากนั้นอาสาสมัครได้เดินทางไปแจกน้ำและมอบเต็นท์สำหรับผู้ประสบภัยที่เมืองกิรติปูร์ (Kirtipur) และโกกานา (Khokhana)

พระภาวร ถาวโร กล่าวว่า ที่เมืองลลิตปุร์ให้บริการอาหารแก่ผู้ประสบภัย 2 เวลา คือ 10 โมงเช้า และ 6 โมงเย็น ค่าอาหารโรงทานตกประมาณ 3,000 บาท ต่อมื้อที่เมืองลลิตปุร์ให้บริการอาหารแก่ผู้ประสบภัย 2 เวลา คือ 10 โมงเช้า และ 6 โมงเย็น ค่าอาหารโรงทานตกประมาณ 3,000 บาท ต่อมื้อ” ที่เมืองลลิตปุร์ให้บริการอาหารแก่ผู้ประสบภัย 2 เวลา คือ 10 โมงเช้า และ 6 โมงเย็น ค่าอาหารโรงทานตกประมาณ 3,000 บาท ต่อ“สำหรับหมู่บ้านจาปาเกา เมืองลลิตปุร์ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติที่อยู่ห่างไกลความช่วยเหลือ ประชาชนได้รับความลำบากทั้งขาดแคลนที่พัก อาหาร น้ำดื่ม และยารักษาโรค”

ทางด้านมูลนิธิธรรมกาย ได้ตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยชาวเนปาล 2 แห่ง ได้แก่ กรุงกาฐมาณฑุ (Kathmandu) ประเทศเนปาล และที่วัดพระธรรมกาย ประเทศไทย สำหรับพระสงฆ์และเจ้าหน้าที่ที่ร่วมปฏิบัติภารกิจช่วยผู้ประสบภัยครั้งนี้ มีทั้งชาวไทยและอาสาสมัครชาวเนปาลที่เคยบวชในโครงการบรรพชาในดินแดนประสูติ 1,112 รูป เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 กัลยาณมิตรทุกท่านสามารถร่วมกับมูลนิธิธรรมกายส่งมอบความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยชาวเนปาล ได้ที่สำนักงานใหญ่มูลนิธิธรรมกาย ตำบลคลองสาม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โทร.02-831-1000

มูลนิธิธรรมกายช่วยเหลือน้ำท่วมที่ปราจีนบุรี

social-work-c004พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้มอบหมายให้คณะกัลยาณมิตร นำข้าวสารอาหารแห้งที่ได้จากโครงการตักบาตรพระ 2 ล้านรูป 77 จังหวัด ทุกวัดทั่วไทย บรรจุถุงยังชีพจำนวน 2,500 ชุด ไปมอบช่วยเหลือแก่พี่น้องประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยน้ำท่วม ในจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โดยที่เทศบาลตำบลกบินทร์ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี นายรังสรรค์ บุตรเนียร นายกเทศมนตรีเทศบาลกบินทร์ เป็นผู้แทนในการรับมอบ และนำไปช่วยเหลือแก่ประชาชนใน 7 ชุมชน อาทิ ชุมชนคลองแฟป, ชุมชนตลาดเก่า, ชุมชนตลาดใหม่, ชุมชนโรงสี-ไปรษณีย์, ชุมชนเจ้าสำอาง และชุมชนบ้านท่าหิน จำนวนกว่า 1,200 ครัวเรือน

世俗に於ける八つの世間法

世俗の生活と切っても切れない要素として、損と得、名誉と不名誉、幸福と不幸、名声と 非難の八つがあります。これらは本人が意識しているか否かを問わず、万人に付き纏うものです。良いカンマが実を結んだなら利得、名誉、幸福、名声に繋がります。反対に、悪しきカンマによる影響が現れると損をしたり、不名誉、不幸、非難等に晒されて苦しむ事になります。この世はカンマの法則に従って動いている為、俗世に生きる人は皆これら八つの要素と常に関係していかざるを得ないのです。

 

紙風船

皆さん、こんにちは。ティッサローです。今回は、2月10日に参加した秋田の上桧木内紙風船あげ2012についてのお話をしたいと思います。

 タイの紙風船(コームローイ)をご存知の人もいるでしょう。タイでは、ラーンナー王朝の時代からの風習となっています。現在でも毎年12月には、タイ北部にあるチェンマイ県でイーペン祭りとして1万の紙風船が打ち上げられています。日本からもたくさんの方がこのお祭りに参加されています。これを読まれた方の中にも、もしかしたら、参加したことがあるという人がいるかもしれません。タイでは、悪運や悲しみなどすべてのマイナスなものを空に放ち、翌年、良い年を送れるように願います。また、タイは国王をはじめ、国民の95%が仏教徒とされる仏教国です。ローイコームには厄除けなど意外にも、お釈迦様、三宝に帰依し、供養するという意味も含まれています。 Read more
1 18 19 20 21